Category Archives: อำเภอเมืองสมุทรปราการ

อำเภอเมืองสมุทรปราการ

อำเภอเมืองสมุทรปราการ    is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by the focus keyword in category.

อำเภอเมืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาตรงข้ามกับอำเภอพระสมุทรเจดีย์ นอกจากเป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัดแล้ว อำเภอเมืองสมุทรปราการยังเป็นที่ตั้งของศาลเด็กและเยาวชน ห้องสมุดประชาชน และท่ารถโดยสารประจำทางสายต่าง ๆ รวมทั้งเป็นบริเวณที่จัดงานพระสมุทรเจดีย์ของทุกปี อำเภอนี้เป็นอำเภอที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศไทย

ประวัติศาสตร์[แก้]

  • พ.ศ. …………. ตั้งอำเภอเมืองสมุทรปราการ
  • วันที่ 11 ธันวาคม 2478 จัดตั้งเทศบาลเมืองสมุทรปราการ[1]
  • วันที่ 1 มกราคม 2486 จังหวัดสมุทรปราการ ได้ยุบลงเนื่องจากขณะนั้นในช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ อำเภอเมืองสมุทรปราการจึงย้ายไปขึ้นกับจังหวัดพระนคร และ เปลี่ยนชื่ออำเภอเป็น อำเภอสมุทรปราการ[2]
  • วันที่ 10 พฤษภาคม 2489 ตั้งจังหวัดสมุทรปราการ ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง[3]
  • วันที่ 25 กันยายน 2489 อำเภอสมุทรปราการเปลี่ยนชื่อกลับมาเป็น อำเภอเมืองสมุทรปราการ[4]
  • วันที่ 20 กันยายน 2505 ตั้งตำบลบางปูใหม่ แยกออกจากตำบลบางปู[5]
  • วันที่ 2 พฤศจิกายน 2505 เปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองสมุทรปราการ[6]
  • วันที่ 28 มกราคม 2506 จัดตั้งสุขาภิบาลสำโรงเหนือในท้องที่บางส่วนของตำบลสำโรงเหนือ และ บางส่วนของตำบลบางเมือง[7]
  • วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2506 โอนพื้นที่หมู่ 1-5 (บางส่วน) ของตำบลบางเมือง หมู่ 4-5 (บางส่วน) และ หมู่ 7 (บางส่วน) ของตำบลบางด้วน หมู่ 1-3 (บางส่วน) หมู่ 4 (ทั้งหมู่) หมู่ 6 (บางส่วน) และ หมู่ 7 (ทั้งหมู่) ของตำบลท้ายบ้าน ให้ไปรวมกับตำบลปากน้ำ เนื่องจากได้ขยายอาณาเขตเทศบาลเมืองสมุทรปราการ[8]
  • วันที่ 2 สิงหาคม 2508 จัดตั้งสุขาภิบาลบางปูในท้องที่ตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ และตำบลท้ายบ้าน[9]
  • วันที่ 15 กรกฎาคม 2522 ตั้งตำบลบ้านคลองสวน แยกออกจากตำบลนาเกลือ[10]
  • วันที่ 15 ธันวาคม 2527 แยกพื้นที่ตำบลปากคลองบางปลากด ตำบลในคลองบางปลากด ตำบลแหลมฟ้าผ่า ตำบลนาเกลือ และตำบลบ้านคลองสวน ไปตั้งเป็น กิ่งอำเภอพระสมุทรเจดีย์ ขึ้นกับอำเภอเมืองสมุทรปราการ[11]
  • วันที่ 1 สิงหาคม 2529 ตั้งตำบลบางเมืองใหม่ แยกออกจากตำบลบางเมือง[12]
  • วันที่ 1 กรกฎาคม 2533 ตั้งตำบลเทพารักษ์ แยกออกจากตำบลสำโรงเหนือ[13]
  • วันที่ 19 กรกฎาคม 2534 ยกฐานะจากกิ่งอำเภอพระสมุทรเจดีย์ อำเภอเมืองสมุทรปราการ เป็น อำเภอพระสมุทรเจดีย์[14]
  • วันที่ 12 กรกฎาคม 2536 จัดตั้งสุขาภิบาลแพรกษาในท้องที่บางส่วนของตำบลแพรกษา[15]
  • วันที่ 18 กรกฎาคม 2537 จัดตั้งสุขาภิบาลด่านสำโรงในท้องที่บางส่วนของตำบลสำโรงเหนือ[16] และจัดตั้งสุขาภิบาลบางเมือง ในท้องที่บางส่วนของตำบลบางเมือง และตำบลสำโรงเหนือ[17]
  • วันที่ 1 สิงหาคม 2538 ตั้งตำบลท้ายบ้านใหม่ แยกออกจากตำบลท้ายบ้าน[18]
  • วันที่ 21 สิงหาคม 2538 ตั้งตำบลแพรกษาใหม่ แยกออกจากตำบลแพรกษา[19]
  • วันที่ 7 กันยายน 2538 จัดตั้งสุขาภิบาลสำโรงเหนือเป็นเทศบาลตำบลสำโรงเหนือ[20]
  • วันที่ 24 มีนาคม 2542 ยกฐานะเทศบาลเมืองสมุทรปราการเป็นเทศบาลนครสมุทรปราการ[21]
  • วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 จัดตั้งสุขาภิบาลบางเมือง สุขาภิบาลด่านสำโรง สุขาภิบาลบางปู และสุขาภิบาลแพรกษา เป็นเทศบาลตำบลบางเมือง เทศบาลตำบลด่านสำโรง เทศบาลตำบลบางปู และเทศบาลตำบลแพรกษาตามลำดับ

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]

อำเภอเมืองสมุทรปราการแบ่งเขตปกครองย่อยออกเป็น 13 ตำบล 95 หมู่บ้าน ได้แก่

1. ปากน้ำ (Pak Nam) 8. บางปู (Bang Pu) 4 หมู่บ้าน
2. สำโรงเหนือ (Samrong Nuea) 9 หมู่บ้าน 9. บางด้วน (Bang Duan) 6 หมู่บ้าน
3. บางเมือง (Bang Mueang) 11 หมู่บ้าน 10. บางเมืองใหม่ (Bang Mueang Mai) 10 หมู่บ้าน
4. ท้ายบ้าน (Thai Ban) 6 หมู่บ้าน 11. เทพารักษ์ (Thepharak) 10 หมู่บ้าน
5. บางปูใหม่ (Bang Pu Mai) 10 หมู่บ้าน 12. ท้ายบ้านใหม่ (Thai Ban Mai) 9 หมู่บ้าน
6. แพรกษา (Phraekkasa) 3 หมู่บ้าน 13. แพรกษาใหม่ (Phraekkasa Mai) 4 หมู่บ้าน
7. บางโปรง (Bang Prong) 4 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]

อำเภอเมืองสมุทรปราการประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 12 แห่ง ได้แก่

การศึกษา[แก้]

ในอำเภอเมืองสมุทรปราการมีห้องสมุดประชาชนตั้งอยู่บริเวณตรงข้ามกับศาลากลางจังหวัด และพิพิธภัณฑ์สวาง พิพิธภัณฑ์นายเรือ มีโรงเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาลศึกษา จนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย

โรงเรียนในอำเภอ[แก้]

อาชีวะศึกษาในอำเภอ[แก้]

การคมนาคม[แก้]

อำเภอเมืองสมุทรปราการมีถนนสายหลัก ได้แก่

ถนนสายรอง ได้แก่

รถไฟฟ้า

การคมนาคมทางน้ำ ได้แก่ แม่น้ำเจ้าพระยา มีท่าเรือวิบูลย์ศรีบริการเรือข้ามฟากไปยังอำเภอพระสมุทรเจดีย์ ส่วนคลองที่สำคัญ ได้แก่ คลองสำโรง คลองบางปิ้ง คลองแพรกษา คลองขุด (เลียบถนนตำหรุ-บางพลี) และคลองชลประทาน (เลียบถนนสุขุมวิท)

ตำบลเทพารักษ์ แผ่นใส สีใสกระจก

ตำบลแพรกษา แผ่นใส สีขาวขุ่น 

ตำบลแพรกษาใหม่ แพนเนล พียู ทำฝ้า-เพดาน ทำฝาผนัง-พาร์ติชั่น

Call Now Button